การรับรู้ เป็นกระบวนการแปล ความหมายระหว่างประสาทสัมผัสกับระบบประสาทของมนุษย์ ที่ใช้อวัยวะรับสัมผัสสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทำให้ส่วนของประสาทสัมผัสในอวัยวะนั้น ส่งผลเชื่อมโยงไปยังสมอง และสมองจะถอดรหัสนั้นไปยังระบบประสาท ทำให้เกิดการรับรู้และรู้สึกจิตวิทยาการรับรู้ เป็นเหตุการณ์ความรู้สึกที่เป็นผลจากกิจกรรมของเซลล์สมอง เป็นลักษณะหนึ่งของจิตแต่ไม่ใช่จิตทั้งหมดจิตวิทยาการเรียนรู้การเรียนรู้เกิดจากการรับรู้ของระบบประสาท และการแปลรหัสการรับรู้ให้สมองสั่งการ ความรู้สึกใดที่สมองได้บันทึกและจดจำไว้จะเรียกว่าประสบการณ์ เมื่ออวัยวะสัมผัสต่อสิ่งเดิมอีกจะเกิดการระลึกได้
วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2551
................องค์ประกอบของการเรียนรู้
........4.1. พุทธนิยม หมายถึง การเรียนรู้ในด้านความรู้ ความเข้าใจ
........1. สติปัญญาของผู้รับรู้ ถ้าสติปัญญาดีจะเรียนรู้ได้เร็ว
........2. ความตั้งใจในกิจกรรมที่ผู้รับรู้สัมผัส
........3. ความสนใจ การมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งนั้น
........4. สภาพจิตใจของผู้รับรู้ในขณะนั้นพฤติกรรมการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้แบ่งเป็น3 กลุ่ม
........4.1. พุทธนิยม หมายถึง การเรียนรู้ในด้านความรู้ ความเข้าใจ
........4.2. จิตพิสัย หมายถึง การเรียนรู้ด้านทัศนคติ ค่านิยม ความซาบซึ้ง
........4.3. ทักษะพิสัย หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับการกระทำหรือปฏิบัติงาน
............การเรียนรู้กับการเรียนการสอน
.....ในการสอนที่ดี ผู้สอนจำเป็นต้องนำทฤษฎีการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ในการเรียนรู้ ซึ่งสามารถกระทำได้หลายสถานการณ์ เช่น
.......1. การมีส่วนร่วมในการรับรู้ โดยให้ผู้เรียนมีโอกาสคิดและไตร่ตรอง
.......2. การทราบผลย้อนกลับ การให้ผู้เรียนได้รับทราบผลของการทำกิจกรรมต่างๆ
.......3. การเสริมแรง ทำให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจ4. การเรียนรู้ตามระดับขั้น โดยจัดความรู้จากง่ายไปยากจิตวิทยาพัฒนาการ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการด้านต่างๆของมนุษย์ ตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงวัยชรา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บทเรียน การสร้างสื่อการเรียนการสอน
- หน้าหลัก
- บทที่ 1 ความหมาย ประเภทและประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน
- บทที่ 3 การสื่อความหมาย
- บทที่ 4 การออกแบบสื่อ องค์ประกอบทีสำคัญในการเรียนการสอน คือสิ่งที่นำไปประกอบการเรียนการสอน
- บทที่ 5 การสร้างสื่อด้วยคอมพิวเตอร์
- บทที่ 6 การสร้างสื่อ 2 มิติ
- บทที่ 7 การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
- บทที่ 8 การสร้างสื่อสามมิติ
- บทที่ 9 การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว